>> 6.1) ทางเลือกใหม่กับสายพานโมดูล่าร์ 1.ทางเลือกใหม่กับสายพานโมดูล่าร์ สายพานโมดูล่าร์คืออะไร ► ผลิตจากการใช้แม่พิมพ์ฉีดแบบ inject mold แล้วฉีดพลาสติกออกมาเป็นชิ้นๆประกอบกันด้วยแท่งพลาสติกหรือ Stainless ► ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารทดแทน PVC/PU ► วัสดุที่ใช้ผลิต 1.PP (polypropylene) 2.PE (polyethylene) 3.POM (polyoxymethylen) 4.PA (polyamine) ทำไมต้องเป็นสายพานโมดูล่าร์ (Modular Belt) ► กำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 40 ปีที่แล้ว เริ่มต้นที่อุตสาหกรรมอาหาร ►ใช้ทดแทน PVC/PU ที่เกิดปัญหาบ่อย เช่น - เกิด Slip - เกิดการ Slide - สายพานเสียหาย ►สามารถขยายหน้ากว้างได้ง่ายเพราะมีลักษณะคล้ายตัวต่อ LEGO สายพานโมดูล่าร์เป็นโซ่หรือสายพานกันแน่ ► หลักการทำงานของสายพานโมดูล่าร์จะเป็นโซ่มากกว่าสายพาน ► ใช้ Sprocket เป็นตัวขับ เป็นการขับแบบ Positive drive ซึ่งจะไม่มีการลื่นเกิดขึ้นในระบบ ► ที่เรียกว่าสายพานโมดูล่าร์เพราะนำแต่ละโมดูลมาต่อกันจนกลายเป็นสายพานหน้ากว้างๆได้
วัสดุที่ใช้ผลิตสายพานโมดูล่าร์ 1.PP (polypropylene). - นิยมใช้กันมากเพราะราคาถูกและคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง - ทนความร้อนได้ 4-100 องศาเซลเซียล 2.PE (polyethylene) -เหมาะกับการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำกว่า -70-35 องศาเซลเซียล -ทนต่อการเสียดสี 3.POM (polyoxymethylen) -แข็งแรงทนต่อแรงกระแทกได้สูง ทนทาน -นิยมใช้ในอุตสาหกรรมที่ต้องใช้ของมีคม 4.PA (polyamine) -ทนทานต่อการเสียดสีขีดข่วนได้ดี -ใช้งานที่อุณหภูมิสูงและแห้งไม่เหมาะสมกับงานเปียก ปัญหาที่เกิดขึ้นในสายพานแบบ PVC/PU 1.ไม่สามารถสู้งานหนักได้ เกิดการฉีกขาดของสายพาน 2.สายพานเกิดการลื่น 3.ไม่สามารถลำเลียงได้ต่อเนื่องต้องหยุดการทำงานก่อนจะส่งผลวัสดุให้ Line อื่นๆ 4.สายพานวิ่งไม่ตรง - มีวัตุแปลกปลอมเข้าไปติดตรงลูกกลิ้ง สายพานโมดูล่าร์ทำอะไรได้บ้าง Ø แก้ไขปัญหาสายพานสไลด์ได้ 100% เพราะระบบการขับเป็นแบบ Positive drive Ø สามารถลำเลียงวัสดุตั้งแต่ -65 ถึง 250 องศาเซลเซียล Ø ลำเลียงวัสดุในแนวโค้งได้แม้ใช้สายพานเพียงเส้นเดียว Ø ลำเลียงได้ต่อเนื่องด้วยสายพานเพียงเส้นเดียว ข้อดีของสายพานโมดูล่าร์ ·ไม่เกิด slip (เหมาะกับทุกอุตสาหกรรมเบา) ·ไม่ฉีกขาด (บำรุงรักษาง่าย) ·ไม่ต้องมี Take up (สายพานไม่ slide) ·ชิ้นส่วนน้อย (ทนสารเคมี) ข้อจำกัดของสายพานโมดูล่าร์ Ø ทำความสะอาดยากในบางรุ่น Ø ไม่ทนอุณหภูมิสูงในบางโมเดล Ø มักเกิดปัญหาในการลำเลียงวัสดุที่เป็นฝุ่นผง Ø ยังทำงานได้ไม่ดีในงานลำเลียงที่ต้องใช้ความเร็วมากๆ สายพานโมดูล่าร์รูปแบบต่างๆ
1. 2.Perforate จะมีลักษณะผิวหน้าที่มีช่องเล็กๆไว้ระบาย 3.Flush grid จะมี (slot) มากกว่า 20% ของพื้นที่สายพาน 4.Raised rip ลักษณะที่มีสันบางๆยกขึ้นมา 5. 6.Roller top ลักษณะที่นำลูกกลิ้งมาติดที่ด้านบนของตัวสายพาน 1.Flat top มีลักษณะเป็นผิวปิดใช้งานได้ในหลายอุตสาหกรรม ตัวอย่างเช่น
อุตสาหกรรมแปรรูปเนื้อหมู อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง
อุตสาหกรรมขนม อุตสาหกกรมกล่อง
3.Flat grid - นิยมใช้ใน line ที่มีการทำความสะอาดวัสดุ - มีรูเปิด >20% ของพื้นที่สายพาน
5.Grip Top
สายพานโมดูล่าร์ใช้ในอุตสาหกรรมอะไรได้บ้าง Ø อุตสาหกรรมกระป๋อง ขวด Ø อุตสาหกรรมประเภทอาหารเส้น Ø
จุดเด่นของสายพานโมดูล่าร์เมื่อเปรียบเทียบกับสายพาน PVC/PU 1.ระบบขับเคลื่อนเป็นแบบ Positive drive -ใช้แรงดึงดูด - ไม่มี Take up 2.ขับแบบ Positive drive -ฟัน Sprocket เกี่ยวเข้าไปในรูของสายพาน -สายพานจึงไม่ slide 3.ง่ายต่อการออกแบบ -มีระยะและตำแหน่งการออกแบบที่แน่นอน -วาง Lay out การทำงานง่าย 4.วิ่งในแนวโค้งโดยใช้สายพานเพียงเส้นเดียว 5.สามารถต่อขยายความยาวหน้ากว้างของสายพานได้ง่าย 6.ดูแลรักษาซ่อมบำรุงง่าย -ลด Reduce down time ให้น้อยลง
อยากออกแบบสายพานโมดูล่าร์จำเป็นต้องรู้อะไรบ้าง 1.ดูรูปแบบของ Application ·สายพานวิ่งตรง · สายพานวิ่งโค้ง 2.เลือกวัสดุ ·ความหนาแน่น ·ความหนัก/เบา 3.ดูมิติของระบบ พิจารณาระยะและตำแหน่ง 4.เลือกความเร็ว 5.ดูลักษณะจำเพาะของวัสดุที่ลำเลียง 6.ดูลักษณะ load และ unload ของวัสดุ 7.ดูสิ่งแวดล้อมมีการกัดกร่อนของสารเคมี
สายพานโมดูล่าร์มีลักษณะโครงสร้างอย่างไร ผิวหน้ามี 2 แบบ - ผิวเรียบ -ผิวแบบมีรูระบาย ทั้งแนวแกนและแนวขวาง
ROD ทำหน้าที่คล้ายบานพับซึ่งมี 2 แบบ
ส่วนประกอบของสายพานโมดูล่าร์
วัสดุที่ใช้เป็นโครงสร้างของสายพาน Modular
หากต้องการติดตั้งสายพาน Modular ต้องมีวิธีการเลือกอย่างไร Step 1 : เลือกว่าจะติดตั้งสายพานแบบทางตรงหรือแบบทางโค้ง Step 2 : เลือกวัสดุให้เหมาะสมต่อการลำเลียง Step 3 : เลือกรูปแบบผิวหน้าของสายพานและรูปแบบการขับ -รูปแบบการขับมี 2 แบบ คือ 3.1 ขับตรงมอเตอร์
3.2 ใช้โซ่เป็นตัวขับ Step 4 : เลือกสายพานให้เหมาะกับงานที่จะใช้
การวิเคราะห์สายพานวิ่งตรง 1.ต้องพิจารณาน้ำหนักของวัสดุเพื่อที่จะเลือกความหนาของสายพาน 2.ความยาวของสายพานลำเลียงที่จะใช้ 3.ความสูงของตำแหน่งสายพานที่เปลี่ยนไป 4.ความเร็วที่ต้องการ 5.เปอร์เซ็นพื้นที่ของสายพาน 6.อุณหภูมิสูงสุดที่สายพานทำงานได้ 7.ชนิดของวัสดุที่วางอยู่บนสายพานที่เป็นขอบกั้นขณะวิ่ง
ตัวอย่างระยะ Guide Design ของระบบสายพานแบบตรง การวิเคราะห์สายพานวิ่งโค้ง 1.ความยาวของสายพานในทางตรงพร้อมทั้งมุมและทิศทางในทางโค้ง 2.รัศมีวงในและความยาวในแนวเส้นตรงของ R 3.ความเร็วของสายพานที่มีส่วนทำให้อุปกรณ์สึกหรอ 4.การใช้ผิวของสายพาน
ทำไมต้องมีสายพานโมดูล่าร์แบบโค้ง เนื่องจากสายพาน PVC จะมีประสิทธิภาพอย่างเพียงพอในการลำเลียงวัสดุทั่วๆไปเหมาะกับงานที่ใช้แรงดึงไม่มาก
เมื่อเปลี่ยน Line การผลิตจากการลำเลียงแบบตรงเป็นการลำเลียงแบบโค้งมักเกิดปัญหา
เมื่อใช้งานไปนานๆต้องการเปลี่ยนสายพานหรืออุปกรณ์อื่นๆจะอะไหล่ที่เหมือน spec เดิมได้ยาก
เมื่อเปลี่ยนการลำเลียงเป็นแนวโค้ง ·สายพาน PVC ถ้าเปลี่ยนการลำเลียงแบบแนวโค้ง ·ต้องใช้แรงขับมากกว่าการลำเลียงเป็นแนวตรง ·สายพานไม่สามารถโอบลูกกลิ้งที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เท่ากันทั้ง ความยาวได้ ·สายพาน PVC มีความละเอียดไม่สูงพอที่จะทำให้สายพานเข้าโค้ง เกิดการบิดตัวของสายพาน ·แรงเสียดทานไม่สูงพอทำให้สายพานเกิดการบิดตัว ·เกิดการเสียรูปของสายพาน สายพานโมดูล่าร์ตอบโจทย์การลำเลียงแบบโค้งได้จริงหรือ ข้อดีที่ 1 : สายพานโมดูล่าร์มีข้อดีอย่างเด่นชัดกว่าสายพานแบบ PVC คือสายพานโมดูล่าร์สามารถวิ่งในแนวราบโค้งได้ ข้อดีที่ 2 : - ไม่มี Slip เนื่องจากมีการขับเป็นแบบ Positive drive - Modular belt จะวิ่งตรงแนวตลอดอายุการใช้ปราศจากการ Slide แล้วขอบสายพาน ชำรุด ข้อดีที่ 3 : - สำหรับ Modular belt จะมี Sprocket หลายตัวในแกนเพลาเดียวกัน - Sprocket จะปรับขนาดให้สอดคล้องกับรัศมีความโค้งของสายพานทำให้ขับเคลื่อนเป็นไปด้วยความมั่นคง
ลองมาดูว่าสายพาน Modular แบบสายพานโค้งทำงานได้อย่างไร
Material Selection Guide
Advantage of Modular Belt 1.Easy Variable Width สามารถต่อขยายหน้ากว้างและความยาวของ 2.Positive Drive สำหรับระบบสายพาน Modular Belt ปกติไม่ต้องมีชุดปรับความตึงเนื่องจาก Modular Belt ใช้ Sprocket ในการเกี่ยวเข้าไปในรูของสายพาน 3.Easy Design ง่ายต่อการออกแบบเนื่อง Modular Belt มีระยะและตำแหน่งการออกแบบที่แน่นอน 4.Vertical Curve สายพาน Modular Belt สามารถวิ่งในแนวโค้งโดยใช้สายพานเพียงเส้นเดียว ทำให้ประหยัดพลังงานและลดจุดเชื่อมต่อ 5.Non Misalignment เนื่องจากสายพาน Modular มีความเป็นโซ่มากกว่าสายพานจึงไม่มีการ Slide สายพานวิ่งตรงแนวตลอดอายุการใช้งาน สายพานไม่กินขอบ 6.Durability โดยปกติแล้วสายพานโมดูล่าร์จะมีอายุการใช้งานนานกว่าสายพาน PVC/PU 57’ 6-10 เท่า 7.Fast Fabrication สามารถทำการผลิตได้รวดเร็ว Modular Belt ส่วนหลักจะเป็นชิ้นส่วนมาตรฐาน คือ Modular Belt, Sprocket, Bearing ทำใหม่แต่โครงสร้าง 8.Lower Pollution สายพาน Modular ผ่านมาตรฐาน Food Approve Material จึงไม่มีสารปนเปื้อน เหมาะกับระบบลำเลียงอาหาร 9.Easy to clean สามารถใช้น้ำหรือไอน้ำฉีดทำความสะอาดได้ง่ายถอดออกมาแปรงแบบซักผ้าเลยก็สมารถทำได้ 10.Perfect Temperature สามารถลำเลียงวัสดุได้ตั้งแต่อุณหภูมิ -60 ถึง 250 องศาเซลเซียล เหมาะแก่งานลำเลียงที่มีการเปลี่ยนอุณหภูมิ 11.Big Load Capacity สายพาน Modular มีความทนทานสูงในรุ่น Heavy Duty สามารถลำเลียงวัสดุได้ถึง 1.5 Ton/cubic.mater 12.Reduce Down Time จากการซ่อมบำรุงที่ง่ายและรวดเร็วจึงทำให้โอกาสที่ระบบจะหยุดการทำงานนั้นน้อยลงไปด้วย 13.Inline and Decline Conveyor สายพาน Modular สามารถติดตั้ง Cleat และ Side guard เพื่อลำเลียงวัสดุในแนวเอียงขึ้นหรือเอียงลง 14.Spiral Conveyor ในบริเวณที่มีพื้นที่จำกัดหรือต้องการลำเลียงวัสดุในแนวดิ่ง Modular Belt ก็สามารถทำได้ 15.Variable Speed and Lateral Movement Function สามารถปรับความเร็วในระหว่างการจ่ายวัสดุออกข้างด้วย Auxiliary Belt 16.Small Structure and Bearing Long Life ใน Modular Belt จะมีแรงดึงน้อยกว่าการขับระบบสายพานทั่วไปทำให้โครงสร้างการออกแบบมีขนาดเล็กและอายุการใช้งานของ Bearing จะยาวนาน 17.Chemical and UV Resistance ทนสารเคมีได้ดีจึงสามารถใช้ลำเลียงวัสดุจำพวกสารเคมีกัดกร่อนหรือรังสีได้ดี หรืองานที่ลำเลียงวัสดุกลางแจ้งเป็นต้น 18.Easy Installation การประกอบติดตั้งง่ายและรวดเร็วกว่าสายพานทั่วไป เพราะไม่ต้องใช้เตาต่อสายพาน สามารถใช้ค้อนและคีบก็สามารถต่อสายพานได้เลยทันที ไม่ต้องปรับ Alignment สายพาน
|